ปัญหาและเฉลยข้อสอบ
ธรรมศึกษาชั้นตรี - โท - เอก
พ.ศ. ๒๕๔๓
กระทู้ธรรม ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง พ.ศ. ๒๕๔๓
วันศุกร์ ที่ ๑๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๓
-------------------
¡µÊÚÊ ¹µÚ¶Ô »¯Ô¡ÒÃí.
ÊÔ觷Õè·ÓáÅéÇ ·Ó¤×¹äÁèä´é.
Ê. Ê.
------------------- |
แต่งอธิบายให้สมเหตุสมผล อ้างสุภาษิตอื่นมาประกอบด้วย ๑ ข้อ และบอกชื่อคัมภีร์ที่มาแห่งสุภาษิตนั้นด้วย สุภาษิตที่อ้างมานั้น ต้องเรียงเชื่อมความให้ติดต่อสมเรื่องกับกระทู้ตั้ง. |
ชั้นนี้ กำหนดให้เขียนลงในใบตอบ ตั้งแต่ ๒ หน้า (เว้นบรรทัด) ขึ้นไป |
------------------- |
ให้เวลา ๓ ชั่วโมง
ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง พ.ศ. ๒๕๔๓
วันเสาร์ ที่ ๑๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๓
----------------------------------------
¤ÓÊÑè§ ¨§àÅ×Í¡¤ÓµÍº·Õè¶Ù¡·ÕèÊØ´à¾Õ§¤ÓµÍºà´ÕÂÇ â´Â¡Ò¡ºÒ·ã¹ªèͧ¢Í§¢éÍ
·Õèµéͧ¡Òà ŧ㹡ÃдÒɤӵͺ ãËéàÇÅÒ õð ¹Ò·Õ (ñðð ¤Ðá¹¹)
๑. | บุคคลทำอะไรมักผิดพลาด เพราะขาดธรรมข้อใด ? | ||||||
ก. | หิริ – โอตตัปปะ | ข. | สติปัฏฐาน | ||||
ค. | สติ – สัมปชัญญะ | ง. | อริยสัจ | ||||
คำตอบ : | ค | ||||||
๒. | คนดี ท่านว่ามีอะไรเป็นเครื่องหมาย ? | ||||||
ก. | ศีล | ข. | กตัญญูกตเวที | ||||
ค. | สมาธิ | ง. | บุญกิริยาวัตถุ | ||||
คำตอบ : | ข | ||||||
๓. | ผู้ปฏิบัติชอบตามพระวินัย แล้วสอนให้ผู้อื่นปฏิบัติตามคือ… ? | ||||||
ก. | พุทธบริษัท | ข. | พระอรหันต์ | ||||
ค. | อุบาสก – อุบาสิกา | ง. | พระสงฆ์ | ||||
คำตอบ : | ง | ||||||
๔. | ในทุจริต ๓ ข้อใด เป็นข้อเสียหายร้ายแรงที่สุด ? | ||||||
ก. | กายทุจริต | ข. | วจีทุจริต | ||||
ค. | มโนทุจริต | ง. | ถูกทุกข้อ | ||||
คำตอบ : | ค | ||||||
๕. | ธรรมอะไร ควบคุมชาวโลกให้อยู่เย็นเป็นสุข ? | ||||||
ก. | ขันติ - โสรัจจะ | ||||||
ข. | หิริ - โอตตัปปะ | ||||||
ค. | สติ - สัมปชัญญะ | ||||||
ง. | กตัญญูกตเวที | ||||||
คำตอบ : | ข | ||||||
๖. | ความเสมอกันแห่งสังขารทั้งปวง เรียกว่าอะไร ? | ||||||
ก. | อนิจจตา | ข. | ทุกขตา | ||||
ค. | อนัตตตา | ง. | สามัญญลักษณะ | ||||
คำตอบ : | ง | ||||||
๗. | บุญกิริยาวัตถุข้อใด สามารถกำจัดกิเลสคือความตระหนี่ได้ ? | ||||||
ก. | ทานมัย | ข. | สีลมัย | ||||
ค. | ภาวนามัย | ง. | ถูกทุกข้อ | ||||
คำตอบ : | ก | ||||||
๘. | การที่ผู้น้อย ประพฤติอ่อนน้อมต่อผู้ใหญ่ ตามฐานะของตน จัดเข้าในหลักธรรม ข้อใด ? | ||||||
ก. | ปุพเพกตปุญญตา | ข. | อัตตสัมมาปณิธิ | ||||
ค. | สัปปุริสูปัสสยะ | ง. | ปฏิรูปเทสวาสะ | ||||
คำตอบ : | ข | ||||||
๙. | หมวดธรรมข้อใด เมื่อเกิดขึ้นแล้ว ทำให้เสียความยุติธรรมได้ ? | ||||||
ก. | อกุศล ๓ | ข. | อคติ ๔ | ||||
ค. | พละ ๕ | ง. | สาราณียธรรม ๖ | ||||
คำตอบ : | ข | ||||||
๑๐. | นักเรียนที่เข้าสอบธรรมศึกษา มีทั้งสอบได้ และสอบตก เพราะมีหรือขาดธรรม หมวดใด ? | ||||||
ก. | ปธาน ๔ | ข. | วุฒิ ๔ | ||||
ค. | อิทธิบาท ๔ | ง. | พรหมวิหาร ๔ | ||||
คำตอบ : | ค | ||||||
๑๑. | คำว่า “อธิษฐานธรรม” แปลว่าอะไร ? | ||||||
ก. | ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ | ||||||
ข. | ธรรมที่อธิษฐานให้สำเร็จตามประสงค์ | ||||||
ค. | ธรรมที่ปฏิบัติแล้วไม่ผิด | ||||||
ง. | ธรรมที่ทำให้สำเร็จตามความประสงค์ | ||||||
คำตอบ : | ก
| ||||||
๑๒. | การสร้างความดี ให้เกิดขึ้นเรียกว่า… ? | ||||||
ก. | สังวรปธาน | ข. | ปหานปธาน | ||||
ค. | ภาวนาปธาน | ง. | อนุรักขนาปธาน | ||||
คำตอบ : | ค | ||||||
๑๓. | ความอาฆาตพยาบาท เป็นบาปอกุศล ท่านจะแก้บาปอกุศลนี้ด้วยธรรมอะไร ? | ||||||
ก. | เมตตา | ข. | กรุณา | ||||
ค. | มุทิตา | ง. | อุเบกขา | ||||
คำตอบ : | ก | ||||||
๑๔. | เห็นคนเป็นลม รีบช่วยพยาบาล เช่นนี้ ชื่อว่าได้บำเพ็ญพรหมวิหารข้อใด ? | ||||||
ก. | เมตตา | ข. | กรุณา | ||||
ค. | มุทิตา | ง. | อุเบกขา | ||||
คำตอบ : | ข | ||||||
๑๕. | วุฒิธรรมข้อโยนิโสมนสิการ หมายถึง… ? | ||||||
ก. | รอบรู้ทุกเรื่อง | ข. | เชื่อในสิ่งที่ควรเชื่อ | ||||
ค. | ศึกษามากรู้ปัญหามาก | ง. | ตริตรองให้รู้สิ่งดีสิ่งชั่ว | ||||
คำตอบ : | ง | ||||||
๑๖. | ข้อใดไม่ชื่อว่า ปัพพัชชา ? | ||||||
ก. | อหิงสา | ข. | สัญญมะ | ||||
ค. | ทมะ | ง. | ขันติ | ||||
คำตอบ : | ง | ||||||
๑๗. | การสำรวม ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไม่ให้ยินดียินร้าย เมื่อเห็นรูปเป็นต้น เรียกว่า อะไร ? | ||||||
ก. | อินทรียสังวร | ข. | ปาฏิโมกขสังวร | ||||
ค. | โภชเนมัตตัญญุตา | ง. | ชาคริยานุโยค | ||||
คำตอบ : | ก | ||||||
๑๘. | กรรมอะไร ที่ห้ามสวรรค์ ห้ามนิพพาน ? | ||||||
ก. | อกุศลกรรม | ข. | นิวรณธรรม | ||||
ค. | อนันตริยกรรม | ง. | อาสันนกรรม | ||||
คำตอบ : | ค | ||||||
๑๙. | บุคคลบางคน มีความกลัว กลายเป็นคนขี้ขลาด ต้องแก้ด้วย… ? | ||||||
ก. | พละ ๕ | ข. | เวสารัชชกรณธรรม ๕ | ||||
ค. | ขันธ์ ๕ | ง. | นิวรณ์ ๕ | ||||
คำตอบ : | ข | ||||||
๒๐. | ในอริยสัจ ๔ ข้อใดควรกำหนดรู้ ? | ||||||
ก. | ทุกข์ | ข. | สมุทัย | ||||
ค. | นิโรธ | ง. | มรรค | ||||
คำตอบ : | ก | ||||||
๒๑. | ธรรมที่กั้นจิต มิให้บรรลุความดี เรียกว่าอะไร ? | ||||||
ก. | กรรมกิเลส | ข. | อกุศลมูล | ||||
ค. | มลทิน | ง. | นิวรณ์ | ||||
คำตอบ : | ง | ||||||
๒๒. | กายกับใจ แบ่งออกเป็นกอง เรียกว่าอะไร ? | ||||||
ก. | สังขาร | ข. | วิญญาณ | ||||
ค. | ขันธ์ | ง. | สัญญา | ||||
คำตอบ : | ค | ||||||
๒๓. | ความรู้สึกในอารมณ์ว่า เป็นสุข เป็นทุกข์ หรือเฉย ๆ เรียกว่าอะไร ? | ||||||
ก. | สัญญา | ข. | เวทนา | ||||
ค. | สังขาร | ง. | วิญญาณ | ||||
คำตอบ : | ข | ||||||
๒๔. | ความอยากเช่นไร จัดเป็นวิภวตัณหา ? | ||||||
ก. | อยากร่ำรวย | ข. | อยากได้เงินเดือนสูง | ||||
ค. | อยากเป็นนายก | ง. | อยากพ้นจากหน้าที่ | ||||
คำตอบ : | ง | ||||||
๒๕. | ความเคารพในมารดาบิดา ครูอาจารย์ จัดเข้าในคารวะข้อใด ? | ||||||
ก. | ในพระพุทธเจ้า | ข. | ในพระธรรม | ||||
ค. | ในปฏิสันถาร | ง. | ในการศึกษา | ||||
คำตอบ : | ข | ||||||
๒๖. | เมื่ออยู่ให้เขารัก จากไปให้เขาคิดถึง เช่นนี้ควรประกอบตนไว้ในธรรมหมวดไหน ? | ||||||
ก. | พรหมวิหาร | ข. | สังคหวัตถุ | ||||
ค. | สาราณียธรรม | ง. | สัปปุริสธรรม | ||||
คำตอบ : | ค | ||||||
๒๗. | ผงเข้าตาเกิดความรู้ขึ้น เรียกว่าอะไร กระทบอะไร ? | ||||||
ก. | รูป กระทบตา | ข. | เสียง กระทบหู | ||||
ค. | โผฏฐัพพะ กระทบกาย | ง. | รูป กระทบกาย | ||||
คำตอบ : | ค | ||||||
๒๘. | อายตนะภายใน เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าอะไร ? | ||||||
ก. | อารมณ์ | ข. | อินทรีย์ | ||||
ค. | วิญญาณ | ง. | สัมผัส | ||||
คำตอบ : | ข | ||||||
๒๙. | อายตนะภายนอก เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าอะไร ? | ||||||
ก. | อารมณ์ | ข. | อินทรีย์ | ||||
ค. | วิญญาณ | ง. | สัมผัส | ||||
คำตอบ : | ก | ||||||
๓๐. | จิตมีความรักสวยรักงาม ควรเจริญกัมมัฏฐานอะไร ? | ||||||
ก. | อสุภกัมมัฏฐาน | ข. | เมตตา | ||||
ค. | พุทธานุสสติ | ง. | มรณสติ | ||||
คำตอบ : | ก | ||||||
๓๑. | เรารับประทานอาหาร รู้รสชาติว่าอร่อย ลักษณะเช่นนี้ เรียกว่าอะไร ? | ||||||
ก. | ชิวหาวิญญาณ | ข. | ชิวหาสัมผัส | ||||
ค. | ฆานวิญญาณ | ง. | ฆานสัมผัส | ||||
คำตอบ : | ก | ||||||
๓๒. | คุณความดี ที่มีในสันดานอย่างประเสริฐ เรียกว่าอะไร ? | ||||||
ก. | กุศลกรรมบถ | ข. | กุศลมูล | ||||
ค. | อริยทรัพย์ | ง. | อริยสัจ | ||||
คำตอบ : | ค | ||||||
๓๓. | คำว่า “ สัตบุรุษ ” หมายถึงข้อใด ? | ||||||
ก. | ผู้ประพฤติชอบด้วย กาย วาจา ใจ | ข. | พุทธบริษัท | ||||
ค. | คฤหัสถ์ ผู้ถึงพระรัตนตรัย | ง. | บรรพชิต | ||||
คำตอบ : | ก | ||||||
๓๔. | คำว่า “ อัตตัญญุตา ” หมายความถึงข้อใด ? | ||||||
ก. | ความเป็นผู้รู้จักตน | ข. | ความเป็นผู้รู้จักผล | ||||
ค. | ความเป็นผู้รู้จักเหตุ | ง. | ความเป็นผู้รู้จักประมาณ | ||||
คำตอบ : | ก | ||||||
๓๕. | เข้าเมืองตาหลิ่ว ต้องหลิ่วตาตาม ตรงกับข้อธรรมใด ? | ||||||
ก. | ธัมมัญญุตา | ข. | อัตตัญญุตา | ||||
ค. | ปริสัญญุตา | ง. | มัตตัญญุตา | ||||
คำตอบ : | ค | ||||||
๓๖. | คุณธรรมของสัตบุรุษ มีกี่อย่าง ? | ||||||
ก. | ๕ อย่าง | ข. | ๖ อย่าง | ||||
ค. | ๗ อย่าง | ง. | ๘ อย่าง | ||||
คำตอบ : | ค | ||||||
๓๗. | โพชฌงค์ข้อใด มีความสำคัญมากที่สุด ? | ||||||
ก. | สติ | ข. | ธัมมวิจยะ | ||||
ค. | ปัสสัทธิ | ง. | สมาธิ | ||||
คำตอบ : | ก | ||||||
๓๘. | เมื่อท่านถูกนินทา หรือสรรเสริญ ชื่อว่าประสบธรรมข้อใด ? | ||||||
ก. | สติปัฏฐาน | ข. | โลกธรรม | ||||
ค. | อริยสัจ | ง. | สัปปุริสธรรม | ||||
คำตอบ : | ข | ||||||
๓๙. | ธรรมที่ครอบงำสัตว์โลก และสัตว์โลกย่อมเป็นไปตามธรรมนั้น ฝ่ายที่น่ายินดี เรียกว่าอะไร ? | ||||||
ก. | อภิรมย์ | ข. | อิฏฐารมณ์ | ||||
ค. | อนิฏฐารมณ์ | ง. | กุศล | ||||
คำตอบ : | ข | ||||||
๔๐. | เศรษฐกิจพอเพียง ตรงกับธรรมข้อใดมากที่สุด ? | ||||||
ก. | โยนิโสมนสิการ | ข. | สันโดษ | ||||
ค. | โภชเนมัตตัญญุตา | ง. | อริยทรัพย์ | ||||
คำตอบ : | ข | ||||||
๔๑. | บรรดามรรค ๘ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สงเคราะห์เข้าในไตรสิกขาข้อใด ? | ||||||
ก. | ปัญญาสิกขา | ข. | สีลสิกขา | ||||
ค. | จิตตสิกขา | ง. | ข้อ ก. และ ข. ถูกที่สุด | ||||
คำตอบ : | ข | ||||||
๔๒. | ทำอย่างไร จึงจะตั้งตัวได้ ในปัจจุบันนี้ ? | ||||||
ก. | เว้นจากอบายมุข | ข. | บำเพ็ญสังคหวัตถุ | ||||
ค. | คบกัลยาณมิตร | ง. | บำเพ็ญทิฏฐธัมมิกัตถะ | ||||
คำตอบ : | ง | ||||||
๔๓ | อบายมุข เครื่องฉิบหาย ๔ อย่าง ข้อใดร้ายแรงที่สุด ? | ||||||
ก. | ความเป็นนักเลงหญิง | ข. | ความเป็นนักเลงสุรา | ||||
ค. | ความเป็นนักเลงเล่นการพนัน | ง. | ความคบคนชั่วเป็นมิตร | ||||
คำตอบ : | ง | ||||||
๔๔. | สิ่งเสพติด มียาบ้าเป็นต้น จัดเข้าในอบายมุขข้อไหน ? | ||||||
ก. | ความเป็นนักเลงหญิง | ข. | ความเป็นนักเลงสุรา | ||||
ค. | ความเป็นนักเลงเล่นการพนัน | ง. | ความคบคนชั่วเป็นมิตร | ||||
คำตอบ : | ข | ||||||
๔๕. | คำว่า “ห่างสุนัขให้ห่างศอก ห่างวอกให้ห่างวา ห่างพาลาให้ห่างหมื่นโยชน์แสนโยชน์ ” เป็นคำสอนตรงกับข้อใด ? | ||||||
ก. | การคบคน | ||||||
ข. | วิธีป้องกันอันตรายจากสัตว์ | ||||||
ค. | วิธีเลี้ยงสัตว์ | ||||||
ง. | ถูกทุกข้อ | ||||||
คำตอบ : | ก
| ||||||
๔๖. | ฆราวาส ควรมีธรรมข้อใดเป็นหลักใจ ? | ||||||
¡. | ÊѨ¨Ð ·ÁÐ ¢Ñ¹µÔ ¨Ò¤Ð | ||||||
¢. | ÊÑ·¸Ò ÈÕÅ ¨Ò¤Ð »ÑÒ | ||||||
¤. | ©Ñ¹·Ð ÇÔÃÔÂÐ ¨ÔµµÐ ÇÔÁѧÊÒ | ||||||
§. | ·Ø¡¢ì ÊÁØ·Ñ ¹Ôâø ÁÃä | ||||||
คำตอบ : | ก | ||||||
๔๗. | โอบอ้อมอารี วจีไพเราะ สงเคราะห์ชุมชน วางตนเหมาะสม ตรงกับธรรมข้อใด ? | ||||||
ก. | สัปปุริสธรรม | ข. | พรหมวิหารธรรม | ||||
ค. | ฆราวาสธรรม | ง. | สังคหวัตถุธรรม | ||||
คำตอบ : | ง | ||||||
๔๘. | หลักธรรมข้อใด ส่งเสริมให้คนรู้จักหน้าที่ อันจะพึงปฏิบัติต่อกัน ? | ||||||
ก. | ทิศ ๖ | ข. | พลธรรม ๕ | ||||
ค. | อิทธิบาท ๔ | ง. | ฆราวาสธรรม ๔ | ||||
คำตอบ : | ก | ||||||
๔๙. | ปุรัตถิมทิศ คือทิศเบื้องหน้า หมายถึงบุคคลในข้อใด ? | ||||||
ก. | บิดา มารดา | ข. | ครู อาจารย์ | ||||
ค. | สมณพราหมณ์ | ง. | มิตรสหาย | ||||
คำตอบ : | ก | ||||||
๕๐. | ทำบุญอุทิศให้ผู้ตาย ตรงกับพลีกรรมข้อใด ? | ||||||
ก. | ญาติพลี | ข. | อติถิพลี | ||||
ค. | ปุพพเปตพลี | ง. | เทวตาพลี | ||||
คำตอบ : | ค | ||||||
ปัญหาและวิชาพุทธประวัติ ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง พ.ศ. ๒๕๔๓
วันเสาร์ ที่ ๑๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๓
----------------------------------------
¤ÓÊÑè§ ¨§àÅ×Í¡¤ÓµÍº·Õè¶Ù¡·ÕèÊØ´à¾Õ§¤ÓµÍºà´ÕÂÇ â´Â¡Ò¡ºÒ·ã¹ªèͧ¢Í§¢éÍ
·Õèµéͧ¡Òà ŧ㹡ÃдÒɤӵͺ ãËéàÇÅÒ õð ¹Ò·Õ (ñðð ¤Ðá¹¹)
๑. | ชมพูทวีปในปัจจุบัน ได้แก่ประเทศอะไรบ้าง ? | ||||||||||
ก. | อินเดีย – เนปาล - ปากีสถาน - บังคลาเทศ | ||||||||||
ข. | อินเดีย - ภูฐาน - อินโดนีเซีย - มาเลเซีย | ||||||||||
ค. | อินเดีย - เนปาล - ศรีลังกา - อัฟกานิสถาน | ||||||||||
ง. | อินเดีย - เนปาล - จีน - อินโดนีเซีย | ||||||||||
คำตอบ : | ก | ||||||||||
๒. | ชนชาติใด อาศัยอยู่ก่อนในชมพูทวีป ? | ||||||||||
ก. | ปากีสถาน | ||||||||||
ข. | สักกะ | ||||||||||
ค. | ศรีลังกา | ||||||||||
ง. | มิลักขะ | ||||||||||
คำตอบ : | ง | ||||||||||
๓. | ศาสนาพราหมณ์ มีคัมภีร์ชื่ออะไร ? | ||||||||||
ก. | ไตรปิฎก | ||||||||||
ข. | ไตรสิกขา | ||||||||||
ค. | ไตรสรณะ | ||||||||||
ง. | ไตรเพท | ||||||||||
คำตอบ : | ง | ||||||||||
๔. | พระโพธิสัตว์ ก่อนเสด็จมาอุบัติในมนุษยโลกนี้ อยู่สวรรค์ชั้นไหน ? | ||||||||||
ก. | ดุสิต | ข. | ยามา | ||||||||
ค. | ดาวดึงส์ | ง. | นิมมานรดี | ||||||||
คำตอบ : | ก | ||||||||||
๕. | คำว่า “ มัธยมประเทศ และปัจจันตประเทศ ” หมายความว่าอย่างไร ? | ||||||||||
ก. | ประเทศที่เป็นเอกราช และไม่มีเอกราช | ||||||||||
ข. | จังหวัดส่วนกลางและจังหวัดรอบนอก | ||||||||||
ค. | จังหวัดที่มีความเจริญ และไม่มีความเจริญ | ||||||||||
ง. | ทั้งสอง เป็นจังหวัดเดียวกัน | ||||||||||
คำตอบ : | ข | ||||||||||
๖. | ในวรรณะทั้ง ๔ วรรณะใดถือตนว่าสูง ? | ||||||||||
ก. | กษัตริย์ - ศูทร | ข. | พราหมณ์ - แพศย์ | ||||||||
ค. | แพศย์ - กษัตริย์ | ง. | กษัตริย์ - พราหมณ์ | ||||||||
คำตอบ : | ง | ||||||||||
๗. | พระพุทธบิดา พระนามว่าอย่างไร ? | ||||||||||
ก. | สุทโธทนะ | ข. | โธโตทนะ | ||||||||
ค. | อมิโตทนะ | ง. | สุกโกทนะ | ||||||||
คำตอบ : | ก | ||||||||||
๘. | สถานที่ประสูติของเจ้าชายสิทธัตถะ ปัจจุบันคือประเทศใด ? | ||||||||||
ก. | เนปาล | ข. | ปากีสถาน | ||||||||
ค. | ศรีลังกา | ง. | อินเดีย | ||||||||
คำตอบ : | ก | ||||||||||
๙. | เมื่อพระโพธิสัตว์ถือปฏิสนธิในพระครรภ์ พระมารดาทรงสุบินว่าอย่างไร ? | ||||||||||
ก. | เทวดามาเกิด | ||||||||||
ข. | พญาช้างเผือกชูดอกบัวขาว | ||||||||||
ค. | พราหมณ์นำขันเงินมามอบให้ | ||||||||||
ง. | ได้เพชรเม็ดงามในมหาสมุทร | ||||||||||
คำตอบ : | ข | ||||||||||
๑๐. | อาสภิวาจา พระพุทธเจ้าตรัสในวันใด ? | ||||||||||
ก. | วันแสดงธรรมครั้งแรก | ข. | วันปรินิพพาน | ||||||||
ค. | วันประสูติ | ง. | วันปลงอายุสังขาร | ||||||||
คำตอบ : | ค | ||||||||||
|
| ||||||||||
๑๑. | ใครเป็นผู้ทำนายพระลักษณะของเจ้าชายสิทธัตถะ เป็นคนแรก ? | ||||||||||
ก. | อาฬารดาบส | ข. | อุทกดาบส | ||||||||
ค. | โกณฑัญญพราหมณ์ | ง. | อสิตดาบส | ||||||||
คำตอบ : | ง | ||||||||||
๑๒. | เทวทูต ๔ อันเป็นมูลเหตุในการเสด็จออกบวชของเจ้าชายสิทธัตถะ ได้แก่อะไรบ้าง ? | ||||||||||
ก. | คนเกิด - คนแก่ - คนเจ็บ - คนตาย | ข. | คนแก่ - คนเจ็บ – คนตาย - สมณะ | ||||||||
ค. | คนแก่ - คนเจ็บ - คนตาย - ความทุกข์ | ง. | คนแก่ - คนเจ็บ – คนตาย - ความสุข | ||||||||
คำตอบ : | ข | ||||||||||
๑๓. | เมื่อบรรพชาแล้ว ได้พบกับใครผู้จะมอบราชสมบัติให้กึ่งหนึ่ง ? | ||||||||||
ก. | พระเจ้าพิมพิสาร | ข. | พระเจ้าลิจฉวี | ||||||||
ค. | พระเจ้าอุชเชนี | ง. | พระเจ้าปเสนทิโกศล | ||||||||
คำตอบ : | ก | ||||||||||
๑๔. | ทรงศึกษาจากสำนักอุทกดาบส สำเร็จชั้นไหน ? | ||||||||||
ก. | อริยสัจ ๔ | ข. | ญาณ ๓ | ||||||||
ค. | สมาบัติ ๗ | ง. | สมาบัติ ๘ | ||||||||
คำตอบ : | ง | ||||||||||
๑๕. | พญามารได้ยกพลเสนามารมาผจญพระองค์ ๆ ทรงต่อสู้ด้วยอะไร ? | ||||||||||
ก. | พระบารมี ๑๐ ทัศ | ข. | พระบารมี ๓๐ ทัศ | ||||||||
ค. | พระบารมี ๓๗ ทัศ | ง. | พระบารมี ๔๒ ทัศ | ||||||||
คำตอบ : | ก | ||||||||||
๑๖. | ผู้ถวายข้าวมธุปายาส ได้แก่ใคร ? | ||||||||||
ก. | นางสุจิตรา | ข. | นางสุชาดา | ||||||||
ค. | นางสุธัมมา | ง. | นางสุนันทา | ||||||||
คำตอบ : | ข | ||||||||||
๑๗. | พระพุทธเจ้า ตรัสรู้อะไร ? | ||||||||||
ก. | ปัญญา | ข. | อริยสัจ | ||||||||
ค. | สติ | ง. | สมาธิ | ||||||||
คำตอบ : | ข | ||||||||||
๑๘. | สัตตมหาสถาน คือสถานที่สำคัญ ๗ แห่ง ได้แก่…? | ||||||||||
ก. | สถานที่เคยบำเพ็ญทุกรกิริยา | ข. | สถานที่เคยเสวยวิมุตติสุข | ||||||||
ค. | สถานที่เคยบิณฑบาต | ง. | สถานที่ไปแสดงธรรม | ||||||||
คำตอบ : | ข | ||||||||||
๑๙. | พระพุทธองค์ทรงพิจารณาเห็นอย่างไร จึงรับคำอาราธนาของท้าวสหัมบดีพรหม เพื่อจะแสดงธรรม ? | ||||||||||
ก. | วรรณ ๔ ของอินเดีย | ||||||||||
ข. | ดอกบัว ๔ เหล่า เปรียบปัญญาคน | ||||||||||
ค. | อริยสัจ ๔ ของจริงอันประเสริฐ | ||||||||||
ง. | อิทธิบาท ๔ คุณเครื่องให้ถึงความสำเร็จ | ||||||||||
คำตอบ : | ข | ||||||||||
๒๐. | พระธรรมเทศนากัณฑ์แรก มีชื่อว่าอย่างไร ? | ||||||||||
ก. | อาทิตตปริยายสูตร | ข. | อนัตตลักขณสูตร | ||||||||
ค. | ธัมมจักกัปปวัตนสูตร | ง. | มงคลสูตร | ||||||||
คำตอบ : | ค | ||||||||||
๒๑. | ใครเป็นพระสาวกองค์แรก ของพระพุทธองค์ ? | ||||||||||
ก. | พระวัปปะ | ข. | พระภัททิยะ | ||||||||
ค. | พระอัญญาโกณฑัญญะ | ง. | พระอัสสชิ | ||||||||
คำตอบ : | ค | ||||||||||
๒๒. | พระปัญจวัคคีย์สำเร็จพระอรหันต์ เพราะฟังพระสูตรอะไร ? | ||||||||||
ก. | อาทิตตปริยายสูตร | ข. | มงคลสูตร | ||||||||
ค. | อนัตตลักขณสูตร | ง. | ธัมมจักกัปปวัตนสูตร | ||||||||
คำตอบ : | ค | ||||||||||
๒๓. | คำว่า “ ธรรมจักษุ ” หมายถึง…? | ||||||||||
ก. | ได้ดวงตาเห็นธรรม | ||||||||||
ข. | ได้เป็นพระอรหันต์ | ||||||||||
ค. | ได้สรณคมน์ | ||||||||||
ง. | ได้ความเลื่อมใส | ||||||||||
คำตอบ : | ก | ||||||||||
๒๔. | ใจความแห่งอนัตตลักขณสูตร กล่าวถึงเรื่องอะไร ? | ||||||||||
ก. | อายตนะ ๖ เป็นอัตตา | ข. | ขันธ์ ๕ เป็นอนัตตา | ||||||||
ค. | ธาตุ ๔ เป็นอนัตตา | ง. | ขันธ์ ๕ เป็นอัตตา | ||||||||
คำตอบ : | ข | ||||||||||
๒๕. | “ ที่นี่วุ่นวายหนอ ที่นี่ขัดข้องหนอ ” เป็นคำพูดของใคร ? | ||||||||||
ก. | ยสกุลบุตร | ข. | โกณฑัญญะ | ||||||||
ค. | อุปติสสะ | ง. | โกลิตะ | ||||||||
คำตอบ : | ก | ||||||||||
๒๖. | พระพุทธองค์ทรงส่งพระสาวกไปประกาศพระศาสนาครั้งแรก กี่องค์ ? | ||||||||||
ก. | ๕ องค์ | ข. | ๑๐ องค์ | ||||||||
ค. | ๖๐ องค์ | ง. | ๖๑ องค์ | ||||||||
คำตอบ : | ค | ||||||||||
๒๗. | พวกชฎิล นับถือบูชาอะไร ? | ||||||||||
ก. | บูชาวัตถุนิยม | ข. | บูชาผู้สูงอายุ | ||||||||
ค. | บูชาดาวพระเคราะห์ | ง. | บูชาไฟ | ||||||||
คำตอบ : | ง | ||||||||||
๒๘. | ผู้ปรารถนาเห็นพระอรหันต์ คนแรกคือใคร ? | ||||||||||
ก. | พระเจ้าสุทโธทนะ | ข. | พระนางปชาบดี | ||||||||
ค. | พระเจ้าปเสนทิโกศล | ง. | พระเจ้าพิมพิสาร | ||||||||
คำตอบ : | ง | ||||||||||
๒๙. | ใคร ต่อมาได้เป็นอัครสาวก ? | ||||||||||
ก. | อนาถปิณฑิกะ | ข. | จิตตคฤหบดี | ||||||||
ค. | วิสาขอุบาสก | ง. | อุปติสสะ | ||||||||
คำตอบ : | ง | ||||||||||
๓๐. | บุคคลผู้ถวายวัดแห่งแรก คือใคร ? | ||||||||||
ก. | พระเจ้าพิมพิสาร | ข. | มหาอุบาสิกา | ||||||||
ค. | พระเจ้าปเสนทิโกศล | ง. | นางวิสาขา | ||||||||
คำตอบ : | ก | ||||||||||
๓๑. | โอวาทปาฏิโมกข์ พระองค์ทรงแสดงที่ไหน ? | ||||||||||
ก. | เวฬุวนาราม | ข. | นิโครธาราม | ||||||||
ค. | โฆสิตาราม | ง. | เชตวันมหาวิหาร | ||||||||
คำตอบ : | ก | ||||||||||
๓๒. | พระสาวกองค์ใด ถือว่าเป็นยอดกตัญญู ? | ||||||||||
ก. | พระมหากัสสปะ | ข. | พระมหาโมคคัลลานะ | ||||||||
ค. | พระสารีบุตร | ง. | พระอัสสชิ | ||||||||
คำตอบ : | ค | ||||||||||
๓๓. | พระมหากัสสปะพบพระพุทธเจ้า ณ ที่ใด ? | ||||||||||
ก. | พหุปุตตนิโครธ | ข. | ศรีมหาโพธิ์ | ||||||||
ค. | มุจลินท์ | ง. | ราชายตนะ | ||||||||
คำตอบ : | ก | ||||||||||
๓๔. | ในท่ามกลางพระประยูรญาติ พระองค์ทรงแสดงชาดกอะไร ? | ||||||||||
ก. | มหาชนกชาดก | ข. | เวสสันตรชาดก | ||||||||
ค. | อัฏฏกชาดก | ง. | เตมิยชาดก | ||||||||
คำตอบ : | ข | ||||||||||
๓๕. | ตามพระพุทธประวัติ เหตุให้เกิดแผ่นดินไหว มีกี่อย่าง ? | ||||||||||
ก. | ๕ อย่าง | ข. | ๖ อย่าง | ||||||||
ค. | ๗ อย่าง | ง. | ๘ อย่าง | ||||||||
คำตอบ : | ง | ||||||||||
๓๖. | คำว่า “ ปลงอายุสังขาร ” หมายถึงอะไร ? | ||||||||||
ก. | การรู้ตัวว่าต้องตาย | ข. | การตั้งใจที่จะปรินิพพาน | ||||||||
ค. | การต่ออายุสังขาร | ง. | การบอกลาชีวิต | ||||||||
คำตอบ : | ข | ||||||||||
๓๗. | ใครถวายบิณฑบาตครั้งสุดท้าย แก่พระพุทธองค์ ? | ||||||||||
ก. | อนาถปิณฑิกเศรษฐี | ข. | นางวิสาขา | ||||||||
ค. | นางสุชาดา | ง. | นายจุนทะ | ||||||||
คำตอบ : | ง | ||||||||||
๓๘. | สังเวชนียสถาน ได้แก่…? | ||||||||||
ก. | สัตตมหาสถาน | ข. | รัตนจงกรม | ||||||||
ค. | สถานที่ตรัสรู้ | ง. | แม่น้ำคงคา | ||||||||
คำตอบ : | ค | ||||||||||
๓๙. | พรหมทัณฑ์ พระพุทธองค์ตรัสให้ลงโทษแก่ใคร ? | ||||||||||
ก. | พระฉันนะ | ข. | พระยสะ | ||||||||
ค. | พระอนุรุทธะ | ง. | พระราธะ | ||||||||
คำตอบ : | ก | ||||||||||
๔๐. | การจัดรวบรวมพระธรรมวินัยให้เป็นหมวดหมู่ เรียกว่าอะไร ? | ||||||||||
ก. | การสันทนาการ | ข. | การสัมมนา | ||||||||
ค. | การเสวนา | ง. | การสังคายนา | ||||||||
คำตอบ : | ง | ||||||||||
๔๑. | แบบอย่าง หรือแบบแผน ที่พึงปฏิบัติในทางศาสนา เรียกว่าอะไร ? | ||||||||||
ก. | ศาสนปฏิบัติ | ข. | ศาสนธรรม | ||||||||
ค. | ศาสนศึกษา | ง. | ศาสนพิธี | ||||||||
คำตอบ : | ง | ||||||||||
๔๒. | บุญพิธี แบ่งออกเป็นกี่ประเภท ? | ||||||||||
ก. | ๒ ประเภท | ข. | ๓ ประเภท | ||||||||
ค. | ๔ ประเภท | ง. | ๕ ประเภท | ||||||||
คำตอบ : | ก | ||||||||||
๔๓ | การถวายทานเจาะจงพระภิกษุรูปใดรูปหนึ่ง เรียก… ? | ||||||||||
ก. | อามิสทาน | ข. | ปาฏิบุคลิกทาน | ||||||||
ค. | วัตถุทาน | ง. | สังฆทาน | ||||||||
คำตอบ : | ข | ||||||||||
๔๔. | งานมงคลทุกประเภท นิยมใช้สายสิญจน์กี่เส้น ? | ||||||||||
ก. | ๓ เส้น | ข. | ๕ เส้น | ||||||||
ค. | ๗ เส้น | ง. | ๙ เส้น | ||||||||
คำตอบ : | ง | ||||||||||
๔๕. | เจ้าภาพพึงกรวดน้ำ เมื่อพระสงฆ์อนุโมทนา เริ่มคำว่า…? | ||||||||||
ก. | ยะถา วาริวะหา … | ข. | สัพพีติโย … | ||||||||
ค. | ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง … | ง. | สะทา โสตถี … | ||||||||
คำตอบ : | ก | ||||||||||
๔๖. | เจ้าภาพพึงจุดเทียนน้ำมนต์ เมื่อพระสงฆ์สวดถึงบทไหน ? | ||||||||||
ก. | ยังกิญจิ วิตตัง … | ข. | เมตตัญจะ … | ||||||||
ค. | โพชฌังโค … | ง. | อเสวนา จะ … | ||||||||
คำตอบ : | ง | ||||||||||
๔๗. | ทำบุญงานอะไร เจ้าภาพไม่ต้องตั้งขันน้ำมนต์ ? | ||||||||||
ก. | งานทำบุญอายุ | ข. | งานทำบุญขึ้นบ้านใหม่ | ||||||||
ค. | งานฉลองพระพุทธรูป | ง. | งานทำบุญ ๗ วัน | ||||||||
คำตอบ : | ง | ||||||||||
๔๘. | ทานประเภทใด พระพุทธองค์ทรงแสดงว่ามีอานิสงส์มาก ? | ||||||||||
ก. | ปาฏิบุคลิกทาน | ข. | กาลทาน | ||||||||
ค. | สังฆทาน | ง. | ธรรมทาน | ||||||||
คำตอบ : | ค | ||||||||||
๔๙. | กาลทาน คือทานเช่นใด ? | ||||||||||
ก. | ผ้าป่า | ข. | ภัตตาหาร | ||||||||
ค. | สังฆทาน | ง. | กฐินทาน | ||||||||
คำตอบ : | ง | ||||||||||
๕๐. | การเจริญพระพุทธมนต์ ใช้สำหรับงานเช่นใด ? | ||||||||||
ก. | งานอวมงคล | ข. | งานศพ | ||||||||
ค. | งานมงคล | ง. | งานทำบุญวันสารท | ||||||||
คำตอบ : | ค | ||||||||||
ปัญหาและเฉลยวิชาเบญจศีล-เบญจธรรม ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง พ.ศ. ๒๕๔๓
วันเสาร์ ที่ ๑๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๓
----------------------------------------
¤ÓÊÑè§ ¨§àÅ×Í¡¤ÓµÍº·Õè¶Ù¡·ÕèÊØ´à¾Õ§¤ÓµÍºà´ÕÂÇ â´Â¡Ò¡ºÒ·ã¹ªèͧ¢Í§¢éÍ
·Õèµéͧ¡Òà ŧ㹡ÃдÒɤӵͺ ãËéàÇÅÒ õð ¹Ò·Õ (ñðð ¤Ðá¹¹)
๑. | ข้อใดเป็นประโยชน์สูงสุด ในการศึกษาเบญจศีล-เบญจธรรม ? | |||
ก. | เพื่อให้รอบรู้วิทยาการแขนงต่าง ๆ | |||
ข. | เพื่อส่งเสริมสติปัญญา ให้เฉลียวฉลาด | |||
ค. | เพื่อแก้ไขกรณีพิพาท ทางศาสนาที่เกิดขึ้นในสังคม | |||
ง. | เพื่อรู้หลักธรรม และนำมาปฏิบัติในการดำเนินชีวิต | |||
คำตอบ : | ง | |||
๒. | ข้อใดไม่ใช่ความหมายที่โยงใยกับคำว่า “ ศีล ” ? | |||
ก. | อาบัติ | ข. | วินัย | |
ค. | วิรัติ | ง. | ปกติ หรือ เย็น | |
คำตอบ : | ก | |||
๓. | ศีลแต่ละข้อ มีส่วนประกอบเป็นเครื่องตัดสินว่า ผิด หรือ ไม่ผิด ส่วนประกอบแต่ละข้อ เรียกว่าอะไร ? | |||
ก. | สิกขาบท | ข. | วิรัติ | |
ค. | ข้อ | ง. | องค์ | |
คำตอบ : | ง | |||
๔. | ข้อใด กล่าวถูกต้อง ? | |||
ก. | วิรัติ คือเจตนางดเว้นจากความชั่ว | |||
ข. | กัลยาณธรรม คือ การละเว้นข้อห้าม | |||
ค. | เบญจศีล มีวิรัติเป็นธรรมคู่กัน | |||
ง. | ผู้มีศีล ๕ ได้ชื่อว่ามีกัลยาณธรรม | |||
คำตอบ : | ก | |||
|
| |||
๕. | ข้อปฏิบัติที่เรียกว่า “ สิกขาบท ” หมายถึงอะไร ? | |||
ก. | องค์ประกอบของศีล | ข. | ข้อยกเว้นของศีล | |
ค. | ศีลข้อหนึ่ง ๆ | ง. | เครื่องอุดหนุนให้ศีลผ่องใส | |
คำตอบ : | ค | |||
๖. | ศีล ๕ และธรรม ๕ มีความสำคัญอย่างไร ? | |||
ก. | ช่วยสงวนพันธุ์สัตว์ | ข. | ช่วยลดคดีหมิ่นประมาท | |
ค. | ทำให้การเบียดเบียนกันลดลง | ง. | ทำให้เศรษฐกิจมีความมั่นคงขึ้น | |
คำตอบ : | ค | |||
๗. | โจรกรรมโดยใช้กุญแจผีเปิดประตูบ้าน และนำของมีค่าไป จัดเป็น…? | |||
ก. | ขโมย | ข. | ตัดช่อง | |
ค. | ลักลอบ | ง. | ปลอม | |
คำตอบ : | ข | |||
๘. | ความแตกร้าวในหมู่มนุษย์ ความไม่ไว้วางใจกัน ป้องกันได้ด้วยศีลข้อใด ? | |||
ก. | กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี | |||
ข. | มุสาวาทา เวรมณี | |||
ค. | ปาณาติปาตา เวรมณี | |||
ง. | อทินนาทานา เวรมณี | |||
คำตอบ : | ก | |||
๙. | คำว่า “ สีเลนะ สุคะติง ยันติ สีเลนะ โภคะสัมปะทา ” กล่าวถึงอะไร ? | |||
ก. | อาราธนาศีล | ข. | อานิสงส์ศีล | |
ค. | สมาทานศีล | ง. | นิจศีล | |
คำตอบ : | ข | |||
๑๐. | เบญจศีล กับกัลยาณธรรม ข้อใดไม่มีความสัมพันธ์ต่อกัน ? | |||
ก. | ไม่ดื่มน้ำเมา - มีสติรอบคอบ | |||
ข. | ไม่แย่งชิงของรัก - เมตตากรุณา | |||
ค. | ไม่พูดเท็จ - ความสัตย์ | |||
ง. | ไม่ลักทรัพย์ - มีอาชีพสุจริต | |||
คำตอบ : | ข | |||
|
| |||
๑๑. | เท็จจริงเพียงไรกับข้อที่ว่า ทรัพย์ที่ได้มาด้วยโจรกรรม ไม่นำความสุขมาให้ ? | |||
ก. | เห็นด้วย เพราะสักวันหนึ่งกรรมจะตามทัน | |||
ข. | เห็นด้วย เพราะสุขอื่นยิ่งกว่าความสงบไม่มี | |||
ค. | ไม่เห็นด้วย เพราะคนทุจริตร่ำรวย และอยู่เป็นสุข | |||
ง. | ไม่เห็นด้วย เพราะไม่มีเงิน ก็ไม่มีความสุข | |||
คำตอบ : | ก | |||
๑๒. | โจรปล้นแล้วฆ่าเจ้าของทรัพย์ตายโดยจงใจ ตกอยู่ในฐานอะไร ? | |||
ก. | ฐานแห่งโลภะ | |||
ข. | ฐานแห่งโทสะ | |||
ค. | ฐานแห่งโมหะ | |||
ง. | ฐานแห่งพยาบาท | |||
คำตอบ : | ก | |||
๑๓. | ยืมหนังสือห้องสมุดไปแล้ว ไม่ส่งคืน เก็บเอาไว้เป็นของตน จัดเป็นโจรกรรมประเภทไหน ? | |||
ก. | กรรโชก | ข. | ฉก | |
ค. | ปล้น | ง. | ตระบัด | |
คำตอบ : | ง | |||
๑๔. | การชนวัว ตีไก่ เป็นลักษณะของการทรมานแบบใด ? | |||
ก. | การใช้งาน | ข. | การเล่นสนุก | |
ค. | การผจญสัตว์ | ง. | การเล่นกีฬา | |
คำตอบ : | ค | |||
๑๕. | ในศีลข้อที่ ๓ ข้อใดไม่ใช่หญิงที่จารีตห้าม ? | |||
ก. | ลูกหลานตนเอง | ข. | แม่ชี | |
ค. | ภิกษุณี สามเณรี | ง. | หญิงที่เป็นใหญ่ด้วยตนเอง | |
คำตอบ : | ง | |||
๑๖. | เพราะเหตุไรศีลข้อที่ ๓ จึงจัดให้อยู่ในกลุ่มเบญจศีลด้วย ? | |||
ก. | เพราะมนุษย์มีราคะ | ข. | เพราะมนุษย์มีโทสะ | |
ค. | เพราะมนุษย์มีโมหะ | ง. | เพราะมนุษย์ต้องอยู่เป็นคู่ | |
คำตอบ : | ก | |||
๑๗. | ประเทศไทยเป็นเมืองพระพุทธศาสนา เหตุไฉนข่าวการละเมิดศีลข้อที่ ๓ จึงมีอยู่มาก ? | |||
ก. | มีการเรียนรู้ แต่ไม่นำมาปฏิบัติ | ข. | กระแสวัตถุนิยมรุนแรง | |
ค. | ไม่มีการยกย่องคนดีให้ปรากฏ | ง. | ถูกทุกข้อ | |
คำตอบ : | ง | |||
๑๘. | กิริยาอาการแห่งมุสาวาท ได้แก่ ? | |||
ก. | มุสาทางกาย | ข. | มุสาทางวาจา | |
ค. | มุสาทางกาย วาจา | ง. | มุสาทางกาย วาจา ใจ | |
คำตอบ : | ค | |||
๑๙. | ผู้ใดแสดงอาการมุสา ประเภททำเลศ ? | |||
ก. | นาย ก. ยุให้เขาแตกกัน | |||
ข. | นาย ข. อวดอ้างความศักดิ์สิทธิ์ที่ไม่จริง | |||
ค. | นาย ค. พูดโกหกเกินความจริง | |||
ง. | นาย ง. พูดโกหกเล่นสำนวนต่าง ๆ | |||
คำตอบ : | ง | |||
๒๐. | การวิวาทกัน บันดาลโทสะแล้วฆ่ากันตาย เป็นการผิดศีลโดยอาการอย่างไร ? | |||
ก. | โดยเจตนา | ข. | โดยไม่เจตนา | |
ค. | โดยไตร่ตรองไว้ก่อน | ง. | โดยฐานพยาบาท | |
คำตอบ : | ข | |||
๒๑. | ข้อใด หมายถึง ปฏิสสวะ…? | |||
ก. | ผิดสัญญา เสียสัตย์ คืนคำ | ข. | ผิดสัญญา พลั้งเผลอ | |
ค. | เสียสัตย์ คืนคำ สำคัญผิด | ง. | ถูกทุกข้อ | |
คำตอบ : | ก | |||
๒๒. | พระสงฆ์เทศน์เกี่ยวกับสัตว์พูดได้ ถือว่าขาดศีลข้อที่ ๔ หรือไม่ ? | |||
ก. | ขาดศีล เพราะสัตว์พูดไม่ได้ | |||
ข. | ไม่ขาดศีล เพราะใคร ๆ ก็รู้ว่าสัตว์พูดไม่ได้ | |||
ค. | ไม่ขาดศีล เพราะเป็นโวหารของผู้เทศน์ | |||
ง. | ไม่ขาดศีล เพราะเป็นนิทานชาดกในคัมภีร์ | |||
คำตอบ : | ง
| |||
๒๓. | ข้อใด ไม่จัดเป็นองค์ประกอบของศีลข้อที่ ๔ ? | |||
ก. | ตั้งใจพูดให้ผิด | ข. | พยายามพูดให้เท็จ | |
ค. | ข้อความที่ไม่เป็นเท็จ | ง. | มีผู้ฟังเข้าใจตามที่พูด | |
คำตอบ : | ค | |||
๒๔. | พุทธภาษิตว่า “ คนพูดไม่จริง ย่อมตกนรก ” หมายความว่า…? | |||
ก. | พูดดี เป็นศรีแก่ปาก | ข. | ปากเป็นเอก เลขเป็นโท | |
ค. | ปลาหมอ ตายเพราะปาก | ง. | ผิดทุกข้อ | |
คำตอบ : | ง | |||
๒๕. | นิทานอีสป เรื่องเด็กเลี้ยงแกะ เป็นอาการของผู้ทำผิดในลักษณะใด ? | |||
ก. | มุสา | ข. | เสริมความ | |
ค. | สัปปลับ | ง. | อำความ | |
คำตอบ : | ก | |||
๒๖. | นักเขียนบางคนต้องดื่มสุรา จึงเขียนผลงานได้ดี ไม่ขัดกับศีลข้อที่ ๕ หรือ ? | |||
ก. | ขัดกัน แต่อนุโลมเป็นข้อยกเว้นได้ | |||
ข. | ไม่ขัดกัน เพราะระดับความเมาของคนต่างกัน | |||
ค. | ไม่ขัดกัน เพราะมีการพักบางขณะ | |||
ง. | ขัดกัน เพราะไม่มีข้อยกเว้น | |||
คำตอบ : | ง | |||
๒๗. | ข้อใด ไม่จัดเป็นโทษของน้ำเมา ? | |||
ก. | เกิดโรคมาลาเรีย | |||
ข. | ก่อเหตุทะเลาะวิวาท | |||
ค. | เสียทรัพย์สมบัติ | |||
ง. | พ่อแม่ พลอยเสียชื่อเสียงด้วย | |||
คำตอบ : | ก | |||
๒๘. | สิ่งที่เรียกว่า “ เมรัย ” มีลักษณะอย่างไร ? | |||
ก. | น้ำเมาที่กลั่นเพื่อให้เข้มข้น | ข. | น้ำเมาที่เกิดจากการหมัก หรือดอง | |
ค. | ฝิ่น กัญชา เฮโรอีน | ง. | ถูกทุกข้อ | |
คำตอบ : | ข
| |||
๒๙. | ในศีลทั้ง ๕ ข้อ ข้อใดที่ล่วงแล้วสามารถทำผิดข้ออื่นได้อีก ? | |||
ก. | ข้อที่ ๕ | |||
ข. | ข้อที่ ๔ | |||
ค. | ข้อที่ ๓ | |||
ง. | ข้อที่ ๒ | |||
คำตอบ : | ก | |||
๓๐. | การสูบฝิ่น สูบกัญชา เสพยาบ้า ยาอี จัดว่าผิดศีลข้อ ๕ หรือไม่ ? | |||
ก. | ไม่ผิดศีล เพราะการค้าขายทำให้เศรษฐกิจขยายตัว | |||
ข. | ไม่ผิดศีล เพราะไม่มีข้อห้ามในพุทธบัญญัติ | |||
ค. | ผิดศีล เพราะจัดเป็นเมรัย | |||
ง. | ผิดศีล เพราะจัดเป็นยาเสพติดให้โทษ | |||
คำตอบ : | ง | |||
๓๑. | ข้อใด มิใช่เป็นเหตุแห่งการบัญญัติศีลข้อที่ ๕ ? | |||
ก. | เพื่อป้องกันมิให้ละเมิดศีลข้อที่ ๑ - ๔ | |||
ข. | เพื่อให้มีสติสัมปชัญญะครบถ้วน ในแต่ละวัน | |||
ค. | เพื่อป้องกันการทะเลาะวิวาท | |||
ง. | เพื่อให้มีบุคลิกภาพดี เหมาะสมกับการดำรงตำแหน่งสำคัญ | |||
คำตอบ : | ง | |||
๓๒. | สุกรนอนอยู่ในเล้า ไม่ละเมิดศีลทั้ง ๕ ข้อ ถือว่าสุกรมีศีล หรือไม่ ? | |||
ก. | ไม่มีศีล เพราะเป็นธรรมชาติของสัตว์ | |||
ข. | ไม่มีศีล เพราะไม่มีวิรัติคือเจตนางดเว้น | |||
ค. | ไม่มีศีล เพราะสัตว์รับศีลไม่ได้ | |||
ง. | มีศีล เพราะสัตว์รักษาศีลได้ | |||
คำตอบ : | ข | |||
๓๓. | เมื่อเราไปร่วมงานเลี้ยง เราปฏิเสธสุราที่เขานำมาให้ จัดเป็นวิรัติข้อใด ? | |||
ก. | สมุจเฉทวิรัติ | ข. | สัมปัตตวิรัติ | |
ค. | สมาทานวิรัติ | ง. | เจตนาวิรัติ | |
คำตอบ : | ข
| |||
๓๔. | พระอรหันต์ท่านมีศีลบริบูรณ์ เพราะมีวิรัติข้อใด ? | |||
ก. | สมุจเฉทวิรัติ | ข. | สัมปัตตวิรัติ | |
ค. | สมาทานวิรัติ | ง. | เจตนาวิรัติ | |
คำตอบ : | ก | |||
๓๕. | กัลยาณชนมีศีลอย่างเดียวไม่เพียงพอหรือ เหตุใดต้องมีกัลยาณธรรมด้วย ? | |||
ก. | เพื่อปฏิบัติคุณพิเศษให้ยิ่งขึ้นไปกว่าศีล | |||
ข. | เพื่อระมัดระวังความชั่วต่าง ๆ | |||
ค. | เพื่อป้องกันความชั่วรุกราน | |||
ง. | ถูกทุกข้อ | |||
คำตอบ : | ก | |||
๓๖. | ข้อใด ไม่ใช่อาการของสติสัมปชัญญะ ? | |||
ก. | ความรู้จักประมาณในการบริโภคอาหาร | ข. | ความไม่เลินเล่อในการทำงาน | |
ค. | ความประพฤติธรรมในกิจอันเป็นหน้าที่ | ง. | ความรู้จักประมาณในการสร้างตน | |
คำตอบ : | ง | |||
๓๗. | ข้อใด กล่าวได้ถูกต้อง ? | |||
ก. | เมตตากำจัดวิหิงสา | ข. | กรุณากำจัดพยาบาท | |
ค. | เมตตากำจัดพยาบาท | ง. | กรุณากำจัดวิหิงสา | |
คำตอบ : | ค | |||
๓๘. | นักเรียนพบแมวถูกรถชน ได้เข้าช่วยเหลือพยาบาล จัดเป็นผู้มี…? | |||
ก. | เมตตา | ข. | กรุณา | |
ค. | มุทิตา | ง. | อุเบกขา | |
คำตอบ : | ข | |||
๓๙. | ขณะนี้ มีผู้ผลิตสินค้าบางรายปลอมแปลงสินค้า แสดงว่า…? | |||
ก. | ไม่ประพฤติเป็นธรรมในกิจการ | |||
ข. | ไม่ประพฤติเป็นธรรมในบุคคล | |||
ค. | ไม่ประพฤติเป็นธรรมในวัตถุ | |||
ง. | ไม่ประพฤติเป็นธรรมในอาชีพ | |||
คำตอบ : | ค
| |||
๔๐. | ข้อใด กล่าวไม่ถูกต้อง ? | |||
ก. | สทารสันโดษ ยินดีพอใจในภรรยาของตน | |||
ข. | ปติวัตร ถือสามีเสมือนบิดา | |||
ค. | ชายหญิงมักมากในกาม ไม่มีสง่าราศรี ไม่พ้นข้อครหา | |||
ง. | ความสำรวมในกาม เป็นเรื่องใหญ่ในชีวิตคู่ | |||
คำตอบ : | ข | |||
๔๑. | ข้อใด ไม่ได้หมายถึงเบญจธรรม ข้อที่ ๔ ? | |||
ก. | ความกตัญญู | ข. | ความซื่อตรง | |
ค. | ความเที่ยงธรรม | ง. | ความรับผิดชอบ | |
คำตอบ : | ง | |||
๔๒. | ผู้พิพากษา จัดว่ามีความสัตย์ประเภทไหน ? | |||
ก. | ความกตัญญู | ข. | ความซื่อตรง | |
ค. | ความเที่ยงธรรม | ง. | ความรับผิดชอบ | |
คำตอบ : | ค | |||
๔๓ | ความไม่เลินเล่อในการงาน เป็นอาการของเบญจธรรมข้อใด ? | |||
ก. | ความมีสัตย์ | ข. | เมตตา - กรุณา | |
ค. | สัมมาอาชีวะ | ง. | ความมีสติรอบคอบ | |
คำตอบ : | ง | |||
๔๔. | ข้อใด ไม่ใช่ความหมายของคำว่า “ อุโบสถ ” ? | |||
ก. | เป็นชื่อของวันจำศีล | |||
ข. | วันพระ | |||
ค. | เป็นชื่อของศีลที่รักษาในวันจำศีล | |||
ง. | โรงอุโบสถสำหรับพระสวดปาฏิโมกข์ | |||
คำตอบ : | ง | |||
๔๕. | คฤหัสถ์เมื่อต้องการบำเพ็ญกุศลให้เป็นส่วนพิเศษ พึงรักษา…? | |||
ก. | ศีล ๕ | ข. | ศีล ๑๐ | |
ค. | ศีล ๒๒๗ | ง. | อุโบสถศีล | |
คำตอบ : | ง
| |||
๔๖. | ข้อใด ไม่จัดอยู่ในอุโบสถศีล ? | |||
ก. | ไม่จับเงินทอง | ข. | ไม่ลักของผู้อื่น | |
ค. | ไม่ฟ้อนรำขับร้อง | ง. | ไม่พูดปด | |
คำตอบ : | ก | |||
๔๗. | ผู้รักษาอุโบสถศีลบางคน พูดนินทาคนโน้น คนนี้ จัดเป็นผู้ถืออุโบสถศีลประเภทไหน ? | |||
ก. | โคปาลอุโบสถ | ข. | นิคคัณฐอุโบสถ | |
ค. | อริยอุโบสถ | ง. | นินทาอุโบสถ | |
คำตอบ : | ก | |||
๔๘. | คำว่า “ อุโบสถ ” แปลว่าอะไร ? | |||
ก. | การเข้าจำ | ข. | การละเว้น | |
ค. | การรักษา | ง. | การเข้มงวด | |
คำตอบ : | ก | |||
๔๙. | อุโบสถศีล ที่รักษาเฉพาะวันหนึ่งคืนหนึ่ง เรียกว่าอะไร ? | |||
ก. | ปกติอุโบสถ | ข. | โคปาลอุโบสถ | |
ค. | ปฏิชาครอุโบสถ | ง. | ปาฏิหาริกอุโบสถ | |
คำตอบ : | ก | |||
๕๐. | การรักษาศีลด้วยการระลึกถึงพระรัตนตรัย ฟังธรรม และสนทนาธรรม เป็นอุโบสถ ชนิดใด ? | |||
ก. | นิคคัณฐอุโบสถ | ข. | ปกติอุโบสถ | |
ค. | โคปาลอุโบสถ | ง. | อริยอุโบสถ | |
คำตอบ : | ง |